ทักษะวิทยาการแบบเปิดสำหรับนักวิจัยและนักสารสนเทศ (Open Science Skills for Researchers and Information Professionals)

ความหมายและความสำคัญของทักษะวิทยาการแบบเปิดสำหรับนักวิจัยและนักสารสนเทศ ทักษะวิทยาการแบบเปิด เป็นทักษะทางสารสนเทศศาสตร์ ที่มีความสำคัญต่อนักวิจัยและนักสารสนเทศ เนื่องจากทักษะวิทยาการแบบเปิดเป็นทักษะการสื่อสารทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการวิจัยตั้งแต่เริ่มต้นการทำวิจัย จนถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัย คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ได้นิยามความหมายของวิทยาการแบบเปิด (Open Science) ว่าเป็นวิธีการใหม่ของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เน้นความร่วมมือในการทำงานวิจัยที่ต้องเผยแพร่ข้อมูลการทำวิจัย เป็นวิธีการใหม่ในการเผยแพร่ความรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและใช้เทคโนโลยีความร่วมมือแบบใหม่ แนวคิดนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการทางวิทยาศาสตร์และการวิจัยที่เคยทำในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา โดยยกระดับแนวปฏิบัติของมาตรฐานการตีพิมพ์ผลการวิจัยในสิ่งตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการแบ่งปันข้อมูลและใช้ความรู้ตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มต้นของกระบวนการวิจัย วิทยาการแบบเปิดจึงเป็นแนวปฏิบัติของวิทยาการที่ทุกคนสามารถร่วมมือและสนับสนุนให้ข้อมูลวิจัยและบันทึกข้อมูลในห้องปฏิบัติการในระหว่างกระบวนการวิจัยสามารถเผยแพร่ได้ ภายใต้นิยามของการใช้ข้อมูลซ้ำได้ การเผยแพร่ซ้ำ และการผลิตซ้ำของงานวิจัย ทั้งในส่วนของข้อมูลและวิธีการ หลักการสำคัญของวิทยาการแบบเปิด มีความสำคัญต่อสังคมโดยรวมที่ควรได้รับประโยชน์จากงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐ โมเดลนวัตกรรมเปิดควรได้รับการพัฒนาเพื่อช่วยให้กลุ่มเป้าหมายไม่เพียงแต่นักศึกษาและนักวิชาการเท่านั้น แต่ยังเป็นผู้ประกอบการในวิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงผลงานวิจัยได้ ตามมาตรา…

Continue Readingทักษะวิทยาการแบบเปิดสำหรับนักวิจัยและนักสารสนเทศ (Open Science Skills for Researchers and Information Professionals)

การร่วมประชุม iConference 2021 ของสมาคม iSchools

การร่วมประชุม iConference 2021 ของสมาคม iSchools โดยรองศาสตราจารย์ ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ เมื่อวันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม 2564 เวลา 10.00-10.30 ผ่านระบบออนไลน์ Microsoft team  continue reading

Continue Readingการร่วมประชุม iConference 2021 ของสมาคม iSchools

การฝึกอบรม เรื่อง การเขียนตำราระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ รุ่นที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 – 3 มีนาคม 2564 (รวมระยะเวลา 3 วัน)

 การเขียนตำราระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ รุ่นที่ 5 โดยอาจารย์กมลพร ศิริโสภณ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรสิริ เกษมสินธุ์ วิเวกเมธากร ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2564 รวมระยะเวลา 3 วัน  อ่านต่อ

Continue Readingการฝึกอบรม เรื่อง การเขียนตำราระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ รุ่นที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 – 3 มีนาคม 2564 (รวมระยะเวลา 3 วัน)
slot gacor